หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโลหการและวัสดุ
เมนู: ชื่อปริญญา | หลักสูตรปรับปรุงปัจจุบัน | ระบบการศึกษา | ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร | แผนการศึกษา | ปรัชญาของหลักสูตร | วัตถุประสงค์ของหลักสูตร | คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์สมัคร | การสมัครเข้าศึกษา | โครงสร้างหลักสูตร
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโลหการและวัสดุ / วศ.ม. (วิศวกรรมโลหการและวัสดุ)
Master of Engineering Program in Metallurgical and Materials Engineering (M.Eng.)
ระบบทวิภาค (ภาคการศึกษาต้น และ ภาคการศึกษาปลาย) แบบไม่มีภาคฤดูร้อน มีการลงทะเบียนแบบมีหน่วยกิต (ตามระเบียบของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ระยะเวลาในแต่ละภาคการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
2 ปีการศึกษา สูงสุดไม่เกิน 4 ปีการศึกษา
- วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (ภายนอกเวลาราชการ) [ แผน ก แบบ ก(1) ] คุณสมบัติผู้สมัคร และ รูปแบบการลงทะเบียน
- วิศวกรรมโลหการและวัสดุ [ แผน ก แบบ ก(2) ] คุณสมบัติผู้สมัคร และ รูปแบบการลงทะเบียน
หมายเหตุ 1: "ภายนอกเวลาราชการ" หมายถึง ไม่มีการลงทะเบียนเรียนวิชาใดๆ นอกจากวิทยานิพนธ์ ***
ผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้เป็นเลิศในสาขาวิชาวิศวกรรมโลหการและวัสดุและมีจรรยาบรรณออกสู่สังคมเพื่อพัฒนาประเทศ
- ผลิตวิศวกรผู้มีความเป็นเลิศทางวิชาการด้านโลหการและวัสดุและสามารถนำวิชาการไปประยุกต์ในงานทางวิศวกรรมโลหการและวัสดุได้อย่างเหมาะสม
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านวิศวกรรมโลหการและวัสดุและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม
- พัฒนาการเรียนรู้ มุ่งเน้นการใช้ผลลัพธ์การเรียนรู้ในการเรียนการสอนและการประเมินนิสิต
- วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (ภายนอกเวลาราชการ) [ แผน ก แบบ ก(1) ] ↦ รหัสหลักสูตร = 3969
- สำเร็จการศึกษาปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหรือเทียบเท่า หรือ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
- มีผลการทดสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
- ❗❗❗ จำเป็น ❗❗❗ มีประสบการณ์ทำงานมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี
- ❗❗❗ จำเป็น ❗❗❗ ได้รับการตอบรับการเป็นที่ปรึกษาจากอาจารย์ของภาควิชาฯ เรียบร้อยแล้ว >>> รายชื่ออาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโลหการ
- คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ พิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์สมัครเข้าศึกษาได้
- วิศวกรรมโลหการและวัสดุ [ แผน ก แบบ ก(2) ] ↦ รหัสหลักสูตร = 3970
- สำเร็จการศึกษาปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหรือเทียบเท่า หรือ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
- มีผลการทดสอบภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
- คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ พิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์สมัครเข้าศึกษาได้
หมายเหตุ 2: สำหรับผู้สมัครเข้าศึกษาตั้งแต่ปี 2567 เป็นต้นไป
1. ผู้สมัครที่ไม่ได้จบปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ จะต้องลงวิชาพื้นฐานวิศวกรรมศาสตร์ แบบ S/U เพิ่มเติมอีก 2 รายวิชา ดังนี้
- ENGINEERING DRAWING (2103106)
- ENGINEERING MECHANICS I (2103213)
2. นิสิตที่ไม่ได้จบสาขาโลหการ หรือ วัสดุศาสตร์ (ไม่ว่าจะเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์/คณะวิทยาศาสตร์) จะต้องลงวิชาพื้นฐานทางโลหวิทยา แบบ S/U เพิ่มเติมอีก 1 รายวิชา ดังนี้
- ENGINEERING MATERIALS LABORATORY (2109276)
ผู้สมัครสามารถขอเทียบรายวิชาที่เรียนมาได้โดยการพิจารณาจากกรรมการหลักสูตร ป.โท โดยขอให้ผู้สมัครที่จะขอเทียบรายวิชา นำTranscript และ เล่มหลักสูตรของตนเอง มาให้กรรมการหลักสูตรพิจารณาในวันปฐมนิเทศน์
ผู้ที่สนใจและมีคุณลักษณะตรงตามในแต่แผนการศึกษา สามารถส่งใบสมัครได้ที่ https://www.register.gradchula.com/apply/chooseProgramType โดยเลือกไปที่หัวข้อ "หลักสูตรภาษาไทย" แล้วค้นหา...
☉ วิศวกรรมโลหการและวัสดุ (ภายนอกเวลาราชการ) [ แผน ก แบบ ก(1) ] ↦ รหัสหลักสูตร = 3969 หรือ
☉ วิศวกรรมโลหการและวัสดุ [ แผน ก แบบ ก(2) ] ↦ รหัสหลักสูตร = 3970
*** หมายเหตุ 3: ภายหลังจากการสมัครแล้วจะ ไม่สามารถย้าย แผนการเรียนได้ในทุกกรณี ***
1. สำหรับนิสิตในแผน ก แบบ ก(1)
1.1 จำนวนหน่วยกิตขั้นต่ำ
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน | - |
รายวิชาบังคับเลือก | - |
รายวิชาเลือก | - |
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ | 36 |
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร | 36 |
หมายเหตุ: ลงวิชาวิทยานิพนธ์ THESIS รหัสวิชา 2109816 หน่วยกิต 36(0-144-0)
1.2 แผนการศึกษา
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 | หน่วยกิต | |
2109816 | วิทยานิพนธ์ | 9 |
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 | หน่วยกิต | |
2109816 | วิทยานิพนธ์ | 9 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 | หน่วยกิต | |
2109816 | วิทยานิพนธ์ | 9 |
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 | หน่วยกิต | |
2109816 | วิทยานิพนธ์ | 9 |
รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร | 36 |
2. สำหรับนิสิตในแผน ก แบบ ก(2)
2.1 จำนวนหน่วยกิตขั้นต่ำ
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน | 24 |
รายวิชาบังคับเลือก | (6) |
รายวิชาเลือก | (18) |
จำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ | 12 |
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร | 36 |
หมายเหตุ 1: ลงวิชาวิทยานิพนธ์ THESIS รหัสวิชา 2109811 หน่วยกิต 12(0-48-0)
หมายเหตุ 2: นิสิตทุกคนจะต้องเรียนวิชาสัมมนาทางวิศวกรรมโลหการและวัสดุ 1,2,3 โดยไม่นับหน่วยกิตในหลักสูตรและประเมินผลเป็น S/U
2.2 แผนการศึกษา
ปีที่ 1
รหัสรายวิชา | ชื่อวิชา | จํานวนหน่วยกิต |
---|---|---|
ภาคการศึกษาที่ 1 | ||
2109602 | หรือ | |
TRANS PHEN SOLIDS ทรานสปอร์ตฟิโนมินาในของแข็ง |
3 |
2109603 | CONC MET MAT ENG แนวคิดของวิศวกรรมโลหการและวัสด |
3 |
2109711 | SEM MET MAT ENG I สัมมนาทางวิศวกรรมโลหการและวัสดุ 1 |
1 (S/U) |
2109xxx | APPROVED ELECTIVES วิชาเลือก |
6 |
รวม | 9 |
รหัสรายวิชา | ชื่อวิชา | จํานวนหน่วยกิต |
---|---|---|
ภาคการศึกษาที่ 2 | ||
2109601 | หรือ | |
THERMO PHA MUL SYS เทอร์โมไดนามิกส์และสมดุลของภาค ในระบบหลายองค์ประกอบ |
3 |
2109604 | APP MET MAT IND การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางโลหการและวัสดุในอุตสาหกรรม |
3 |
2109712 | SEM MET MAT ENG II สัมมนาทางวิศวกรรมโลหการและวัสดุ 2 |
1 (S/U) |
2109xxx | APPROVED ELECTIVES วิชาเลือก |
6 |
2109811 | THESIS วิทยานิพนธ์ |
3 |
รวม | 12 |
ปีที่ 2
รหัสรายวิชา | ชื่อวิชา | จํานวนหน่วยกิต |
---|---|---|
ภาคการศึกษาที่ 3 | ||
2109811 | THESIS วิทยานิพนธ์ |
3 |
2109713 | SEM MET MAT ENG III สัมมนาทางวิศวกรรมโลหการและวัสดุ 3 |
1 (S/U) |
2109xxx | APPROVED ELECTIVES วิชาเลือก |
6 |
รวม | 9 |
รหัสรายวิชา | ชื่อวิชา | จํานวนหน่วยกิต |
---|---|---|
ภาคการศึกษาที่ 4 | ||
2109811 | THESIS วิทยานิพนธ์ |
6 |
รวม | 6 |
2.3 รายวิชาเรียนในหลักสูตร --> รายละเอียดเนื้อหาของแต่ละวิชา (Syllabus)
2.3.1 รายวิชาบังคับเลือกที่ไม่นับหน่วยกิต
2109711 | สัมมนาทางวิศวกรรมโลหการและวัสดุ 1 | 1(1-0-3) S/U |
2109712 | สัมมนาทางวิศวกรรมโลหการและวัสดุ 2 | 1(1-0-3) S/U |
2109713 | สัมมนาทางวิศวกรรมโลหการและวัสดุ 3 | 1(1-0-3) S/U |
2.3.2 รายวิชาบังคับเลือก (เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต)
2109601 | เทอร์โมไดนามิกส์และสมดุลของภาคในระบบหลายองค์ประกอบ | 3(3-0-9) |
2109602 | ทรานสปอร์ตฟิโนมินาในของแข็ง | 3(3-0-9) |
2109603 | แนวคิดของวิศวกรรมโลหการและวัสด 3 | 3(3-0-9) |
2109604 | การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางโลหการและวัสดุในอุตสาหกรรม | 3(3-0-9) |
2.3.3 รายวิชาเลือก (เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต)
2109504 | โลหการกายภาพชั้นสูง 1 | 3(2-3-7) |
2109508 | เรตฟิโนมินาและโมเดลลิงในกระบวนการทางวิศวกรรมโลหการ | 3(3-0-9) |
2109509 | เทคโนโลยีเหล็กกล้าไร้สนิม | 3(3-0-9) |
2109510 | การวิเคราะห์โดยเครื่องมือ | 3(2-3-7) |
2109514 | การกัดกร่อนของโลหะชั้นสูง | 3(3-0-9) |
2109515 | การวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาคเชิงปริมาณ | 3(3-0-9) |
2109516 | เรื่องขั้นสูงทางด้านวิศวกรรมโลหการกายภาพ | 3(3-0-9) |
2109517 | วัสดุผสม 1 | 3(3-0-9) |
2109518 | เทคโนโลยีพื้นผิว | 3(3-0-9) |
2109519 | การแข็งตัวของโลหะหล่อ | 3(3-0-9) |
2109525 | วิศวกรรมงานเชื่อมประสาน | 3(3-0-9) |
2109526 | เรื่องขั้นสูงทางด้านวิศวกรรมโลหการเคมี | 3(3-0-9) |
2109527 | วัสดุสําหรับงานอุณหภูมิสูง | 3(3-0-9) |
2109530 | โลหการกายภาพของเหล็กกล้า | 3(3-0-9) |
2109533 | โลหวิทยาของโลหะผง | 3(3-0-9) |
2109535 | โลหะเซลลูลาร์ | 3(3-0-9) |
2109536 | เรื่องขั้นสูงทางด้านวิศวกรรมโลหการการผลิต | 3(3-0-9) |
2109537 | ไทรโบโลยีของวัสดุ | 3(3-0-9) |
2109555 | วัสดุนาโนและวัสดุอสัณฐาน | 3(3-0-9) |
2109659 | อะลูมิเนียมเทคโนโลยี | 3(3-0-9) |
2.3.4 วิทยานิพนธ์ (12 หน่วยกิต)
2109811 | วิทยานิพนธ์ | 12(0-48-0) |